ประวัติความเป็นมาของพิธีชงชา
ต้นกำเนิดของพิธีเริ่มต้นเมื่อศตวรรษที่ 9 ในหนังสือประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นในชื่อ "Nihon Koki” เขียนไว้ว่า เมื่อประมาณ700ปีก่อน ได้มีพระสงฆ์นามว่า เอชู เดินทางกลับมาจากประเทศจีน และได้ถวายชาเขียวแก่องค์จักรพรรดิ ซึ่งภายหลังได้กลายเป็นแบบแผนพิธีการชงชา พิธีชงชาที่เกิดขึ้นในประเทศจีนนั้น เมื่อเข้ามาสู่ญี่ปุ่น ก็ได้พัฒนาให้เป็นในแบบเฉพาะของตนเองซึ่งนำไปใช้ในพิธีกรรมทางศาสนา
เมื่อเข้าสู่ศตวรรษที่16 ลัทธิเซนมีอิทธิพลต่อพิธีชงชาอย่างมาก พิธีชงชาที่ว่ากันว่ามีหลักคำสอนของลัทธิเซนอยุ่ด้วย ส่วนใหญ่จะใช้ชาเขียวผงในพิธีชงชาแทนชาเขียวธรรมดาทั่วไป
เมื่อเข้าสู่ศตวรรษที่16 ลัทธิเซนมีอิทธิพลต่อพิธีชงชาอย่างมาก พิธีชงชาที่ว่ากันว่ามีหลักคำสอนของลัทธิเซนอยุ่ด้วย ส่วนใหญ่จะใช้ชาเขียวผงในพิธีชงชาแทนชาเขียวธรรมดาทั่วไป
ปรัชญาของชา
เมื่อมองเข้าไปถึงในแก่นแท้ของพิธีชงชานั้น จะเข้าใจถึงปรัชญาการนึกคิด ซะโด คือการทำจิตใจ จิตวิญญาณให้มีความสงบ โดยแนวคิดแห่งซาโดนั้น ใช้แนวคิด ความงามในความเรียบง่ายและความสงบ อุปกรณ์ชงชาอย่างกาต้มน้ำ ถ้วยชา เป็นสิ่งเรียบง่าย นอกจากนี้เพื่อที่จะค้นหาความงามในความไม่สมบูรณ์ อุปกรณ์ที่มีความขรุขระ
หัวใจพิธีชงชา คือ ความสุนทรีย์ในความเรียบง่าย การรวมเป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติด้วยจิตใจที่นิ่งสงบและบริสุทธิ์ซึ่งสิ่งนี้คือปรัชญาของซาโด
หัวใจพิธีชงชา คือ ความสุนทรีย์ในความเรียบง่าย การรวมเป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติด้วยจิตใจที่นิ่งสงบและบริสุทธิ์ซึ่งสิ่งนี้คือปรัชญาของซาโด
อุปกรณ์ในพิธีชงชา
・อุปกรณ์ที่สำคัญในพิธีชงชา ตามด้างล่างนี้ ผ้า2ชั้นที่ไว้คลุมและเช่นทำความสะอาดอุปกรณ์
・กระดาษ “ไคชิ” กระดาษญี่ปุ่นไว้รองขนมหวาน ใช้แทนจาน
เมื่อดื่มชาหมดแล้ว ให้ใช้ปลายนิ้วชี้และนิ้วหัวแม่มือ เช็ดขอบถ้วยชา แล้วจึงใช้นิ้วนั้นเช็ดที่กระดาษไคชิ เพื่อทำความสะอาด
ในกรณีที่ชาเข้มข้น ใช้กระดาษไคชิปาดตรงขอบถ้วยชา
อีกทั้งหากทานขนมหวานไม่หมด สามารถใช้กระดาษไคชิห่อขนมที่ทานเหลือได้
・นัทสึเมะ โถใส่ผงชามัตฉะ
・ชะอิเระ โถใส่ชา ทำมาจากเซรามิก
・ชะฉะคุ ช้อนตักชา โดยทั่วไปทำจากไม้ไผ่ มีลักษณะยาว ปลายแหลมเล็ก
・ชะเซน อุปกรณ์ที่คนชาให้เข้ากัน โดยการเติมน้ำร้อนลงในถ้วยชา แล้วใช้ชะเซนคนลงตรงกลางถ้วย คนให้ผงชาละลายจนทั่ว
・ชะคิง ผ้าที่ทำจากป่าน ไว้เช็ดทำความสะอาดถ้วยชา
・ชะวัง ถ้วยชาที่มีรูปร่างขนาดใหญ่ แตกต่างขึ้นอยู่กับฤดูและพิธี
・ฮิชะคุ อุปกรณ์ไว้ตักน้ำชงชา ในฤดูร้อนจะมีขนาดเล็ก ในฤดูหนาวจะมีขนาดใหญ่ ขนาดแตกต่างกันไปตามฤดู
・ชะคะมะ กาน้ำสำหรับต้มน้ำใส่ชา
・ภาพแขวนผนัง จะเป็นภาพวาดหรือตัวอักษรก็ได้ จะแขวนไว้ที่ “โทโคโนมะ”(เป็นส่วนที่ยกขึ้นสูงเล็กน้อย ไว้ประดับภาพแขวน หรือ วางแจกันดอกไม้ ) ในห้องชงชา
・แจกันดอกไม้ ไว้สำหรับตกแต่งดอกไม้ จะวางประดับไว้ที่ “โทโคโนมะ”เช่นกัน
แจกันดอกไม้ ไว้สำหรับตกแต่งดอกไม้ จะวางประดับไว้ที่ “โทโคโนมะ”เช่นกัน
・กระดาษ “ไคชิ” กระดาษญี่ปุ่นไว้รองขนมหวาน ใช้แทนจาน
เมื่อดื่มชาหมดแล้ว ให้ใช้ปลายนิ้วชี้และนิ้วหัวแม่มือ เช็ดขอบถ้วยชา แล้วจึงใช้นิ้วนั้นเช็ดที่กระดาษไคชิ เพื่อทำความสะอาด
ในกรณีที่ชาเข้มข้น ใช้กระดาษไคชิปาดตรงขอบถ้วยชา
อีกทั้งหากทานขนมหวานไม่หมด สามารถใช้กระดาษไคชิห่อขนมที่ทานเหลือได้
・นัทสึเมะ โถใส่ผงชามัตฉะ
・ชะอิเระ โถใส่ชา ทำมาจากเซรามิก
・ชะฉะคุ ช้อนตักชา โดยทั่วไปทำจากไม้ไผ่ มีลักษณะยาว ปลายแหลมเล็ก
・ชะเซน อุปกรณ์ที่คนชาให้เข้ากัน โดยการเติมน้ำร้อนลงในถ้วยชา แล้วใช้ชะเซนคนลงตรงกลางถ้วย คนให้ผงชาละลายจนทั่ว
・ชะคิง ผ้าที่ทำจากป่าน ไว้เช็ดทำความสะอาดถ้วยชา
・ชะวัง ถ้วยชาที่มีรูปร่างขนาดใหญ่ แตกต่างขึ้นอยู่กับฤดูและพิธี
・ฮิชะคุ อุปกรณ์ไว้ตักน้ำชงชา ในฤดูร้อนจะมีขนาดเล็ก ในฤดูหนาวจะมีขนาดใหญ่ ขนาดแตกต่างกันไปตามฤดู
・ชะคะมะ กาน้ำสำหรับต้มน้ำใส่ชา
・ภาพแขวนผนัง จะเป็นภาพวาดหรือตัวอักษรก็ได้ จะแขวนไว้ที่ “โทโคโนมะ”(เป็นส่วนที่ยกขึ้นสูงเล็กน้อย ไว้ประดับภาพแขวน หรือ วางแจกันดอกไม้ ) ในห้องชงชา
・แจกันดอกไม้ ไว้สำหรับตกแต่งดอกไม้ จะวางประดับไว้ที่ “โทโคโนมะ”เช่นกัน
แจกันดอกไม้ ไว้สำหรับตกแต่งดอกไม้ จะวางประดับไว้ที่ “โทโคโนมะ”เช่นกัน
ขั้นตอน
แนวคิดพิธีชงชานั้นได้จัดขั้นตอนการชงตามแบบฉบับของตัวเอง โดยจะใช้คำว่า “เทะมะเอะ” ในพิธีชงชาต่อไปนี้จะแนะนำขั้นตอนทั่วไปโดยจะจัดขึ้นตามโดยไม่จำกัดช่วงเวลา
1.ใช้ชะฉะคุ ตักผงชาจากโถใส่ชาลงในถ้วยชา
2.ใช้กระบวยตักน้ำ ตักน้ำร้อนใส่ถ้วยชา
3.ใช้ชะเซนคนชาให้เข้ากัน
4.สำหรับแขกผู้ดื่มชา จะจับถ้วยชาด้วยมือขวา โดยแบมือซ้ายเพื่อวางถ้วยชา
5.โดยการหมุนถ้วยชาไปตามเข็มนาฬิกา แล้วค่อยดื่ม
6.หลังจากดื่มชาแล้ว เช็ดขอบถ้วยตรงบริเวณที่ดืม แล้วหมุนถ้วยขาทวนเข็มนาฬิกา 3ครั้ง แล้วจึงวางถ้วยชาเพื่อส่งคืน
1.ใช้ชะฉะคุ ตักผงชาจากโถใส่ชาลงในถ้วยชา
2.ใช้กระบวยตักน้ำ ตักน้ำร้อนใส่ถ้วยชา
3.ใช้ชะเซนคนชาให้เข้ากัน
4.สำหรับแขกผู้ดื่มชา จะจับถ้วยชาด้วยมือขวา โดยแบมือซ้ายเพื่อวางถ้วยชา
5.โดยการหมุนถ้วยชาไปตามเข็มนาฬิกา แล้วค่อยดื่ม
6.หลังจากดื่มชาแล้ว เช็ดขอบถ้วยตรงบริเวณที่ดืม แล้วหมุนถ้วยขาทวนเข็มนาฬิกา 3ครั้ง แล้วจึงวางถ้วยชาเพื่อส่งคืน
เพื่อที่พิธีชงชาที่สมบูรณ์แบบ
นอกจากขั้นตอนการชงชาแล้ว ยังมีสิ่งสำคัญในพิธีชงชาออื่นๆด้วย
・ห้องชงชา ในพิธีชงชานั้น จะจัดในห้องแบบญี่ปุ่นซึ่งกำหนดที่นั่งไว้สำหรับแขกและผู้ชงชา
・เครื่องแต่งกาย เพื่อเป็นเกียรติแก่พิธี สวมเครื่องแต่งกายที่สุภาพ โดยผู้ทำพิธีชงชาจะสวมชุดกิโมโน ส่วนแขกจะสวมก็ได้ หรือจะเป็นสากลก็ได้เช่นกัน
・รูปแขวน เป็นภาพวาดแบบญี่ปุ่น หรือตัวอักษรก็ได้ โดยจะแขวนไว้ที่ โทโคโนมะ
・แจกันดอกไม้ ไว้สำหรับตกแต่งดอกไม้ จะวางประดับไว้ที่ “โทโคโนมะ”เช่นกัน
วัสดุจะใช้ไม้ไผ่ เครื่องปั้นดินเผา แตกต่างกันไปตามแต่ละฤดู
・อาหาร จะเป็นของว่างเบาๆ อย่างของทานในช่วงฤดูกาลนั้นๆ โดยให้ความสำคัญกับความรู้สึกของฤดูกาล
・ห้องชงชา ในพิธีชงชานั้น จะจัดในห้องแบบญี่ปุ่นซึ่งกำหนดที่นั่งไว้สำหรับแขกและผู้ชงชา
・เครื่องแต่งกาย เพื่อเป็นเกียรติแก่พิธี สวมเครื่องแต่งกายที่สุภาพ โดยผู้ทำพิธีชงชาจะสวมชุดกิโมโน ส่วนแขกจะสวมก็ได้ หรือจะเป็นสากลก็ได้เช่นกัน
・รูปแขวน เป็นภาพวาดแบบญี่ปุ่น หรือตัวอักษรก็ได้ โดยจะแขวนไว้ที่ โทโคโนมะ
・แจกันดอกไม้ ไว้สำหรับตกแต่งดอกไม้ จะวางประดับไว้ที่ “โทโคโนมะ”เช่นกัน
วัสดุจะใช้ไม้ไผ่ เครื่องปั้นดินเผา แตกต่างกันไปตามแต่ละฤดู
・อาหาร จะเป็นของว่างเบาๆ อย่างของทานในช่วงฤดูกาลนั้นๆ โดยให้ความสำคัญกับความรู้สึกของฤดูกาล
เรียนรู้พิธีชงชา
การเรียนชงชานั้นไม่ใช่เรื่องง่ายเลย สิ่งสำคัญคือการจำขั้นตอนการชงชา นอกจากนั้นคือการเข้าถึงปรัชญาความสงบและเรียบง่ายของวิถีแห่งชา โดยทั่วไปผู้เรียนจะได้เรียนและจบหลักสูตร เพื่อสามารถนำไปสอนต่อได้
การเรียนพิธีชงชา ต้องเรียนที่โรงเรียนสอนโดยเฉพาะ หรือสมาคมทีมีสอน นอกจากนี้โรงเรียนที่ญี่ปุ่น ยังมีชมรมซาโดด้วยเช่นกัน
การเรียนพิธีชงชา ต้องเรียนที่โรงเรียนสอนโดยเฉพาะ หรือสมาคมทีมีสอน นอกจากนี้โรงเรียนที่ญี่ปุ่น ยังมีชมรมซาโดด้วยเช่นกัน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น